รากเทียม

Posted on: พฤษภาคม 20, 2013, by :

รากเทียม (Dental implant)

 

Dental Implants: Consultation, Placement, and Recovery

To determine if implants are right for you, a consultation with your dentist, oral surgeon, and/or periodontist or prosthodontist is needed. During this appointment, your dental professional will thoroughly examine your teeth and gums and evaluate bone density and quantity. This may involve X-rays and computer tomography scans (CT scans) to ensure there is sufficient bone structure for placing the implant(s), and to determine exactly where the implant should be placed.

Based on the condition of your oral tissues, oral hygiene and personal habits, and commitment to follow aftercare instructions, your dentist will advise you of the most appropriate dental implant treatment plan. Some patients with insufficient bone or gum tissue require bone or soft tissue grafts and/or the use of small diameter implants (also called mini implants).

Oral Surgery

Can oral surgery correct your functional dental concern?

 

Depending on your situation, your dental professional will advise you of how long the entire treatment process will take, how many appointments will be necessary and what you can expect after each procedure. During the consultation, options for local anesthesia (to numb the affected and surrounding areas) and sedation dentistry, if necessary, also will be discussed.

The Dental Implant Placement Procedure

Today”s dental implant restorations are virtually indistinguishable from other teeth. This appearance is aided in part by the structural and functional connection between the dental implant and the living bone. Implants are typically placed in a single sitting but require a period of osseointegration.

Osseointegration is the process by which the dental implant anchors to the jaw bone. Osseointegrated implants are the most commonly used and successful type of dental implant. An osseointegrated implant takes anywhere from three to six months to anchor and heal, at which point your dentist can complete the procedure by placing a crown restoration. If osseointegration does not occur, the implant will fail.

Preventive Dentistry

Prevention today equates to savings tomorrow.

 

Dental implantation, which is performed to replace missing teeth, can be done any time after adolescence or when bone growth is complete. Certain medical conditions, such as active diabetes, cancer or periodontal disease, may require additional treatment before the implant procedure can be performed.

Detailed procedural steps are as follows:

Preparing the Jaw for Implantation: A dental implant restoration is commonly composed of a titanium material screw and a crown. A small-diameter hole (pilot hole) is drilled at edentulous (where there is no tooth) jaw sites in order to guide the titanium screw that holds a dental implant in place. To avoid damaging vital jaw and face structures like the inferior alveolar nerve in the mandible (lower jaw), a dentist must use great skill and expertise when boring the pilot hole and sizing the jaw bone. In many instances dentists use surgical guides created based on the CT scans when placing the dental implants.

Gingival Sculpting

Reinvent your smile with gum tissue contouring.

 

Placement of the Implant: After the initial pilot hole has been drilled into the appropriate jaw site, it is slowly widened to allow placement of the implant screw. Once in place, surrounding gum tissue is secured over the implant and a protective cover screw is placed on top to allow the site to heal and osseointegration to occur. After up to six months of healing, your dentist will uncover the implant and attach an abutment (which holds the crown or tooth-like replacement) to the implant. In some cases, the abutment may be attached during the initial procedure. When the abutment is in place, your dentist then will create a temporary crown. The temporary crown serves as a template around which the gum grows and shapes itself in a natural way. The process is completed when the temporary crown is replaced with a permanent crown.

Dental Implants Recovery

Dental implant recovery depends on a number of factors, including the various procedures required to complete your treatment. However, it is generally recognized that once an implant has been placed, maintaining diligent oral hygiene habits is required to ensure proper fusing of the implant and bone structure. If cared for properly, an implant restoration can remain in place for more than 40 years.

After the initial surgical procedure, discomfort should be minimal. Swelling of your gums and face may occur, as well as minor bleeding and bruising of the implant site. Prescription pain medications may be prescribed by your dentist to relieve any pain or discomfort you feel after the procedure.

Invisalign Express

Are you a candidate for shorter-duration Invisalign?

 

Healing from the surgical procedure to place the dental implant(s) takes up to six months, while the fitting and seating of the crown(s) can take up to two months. Again, this timeframe depends on individual cases and treatments. Follow-up appointments with your treatment coordinators are essential for monitoring your progress.

Implant Surgery Follow-up and Aftercare

For five to seven days after surgery, your diet should be restricted to soft foods. If stitches are present, they may need to be removed by your dentist; however, self-dissolving stitches that do not require removal are typically used.

If provisional restorations were placed along with the dental implant, it will be important to clean them as you would your natural teeth to ensure the best possible healing and fusing of the implant.

 

Failure to floss and brush is a leading cause of implant failure, and infection can occur if the implant and surrounding areas are not cleaned properly. Smoking also is attributed to high failure rates with dental implants and should be avoided following implant procedures.

Failure to floss and brush is a leading cause of implant failure, and infection can occur if the implant and surrounding areas are not cleaned properly. Smoking also is attributed to high failure rates with dental implants and should be avoided following implant procedures

เป็นวิธีการปลูกรากเทียมหรือรากฟันเทียมทด แทนรากฟันจริง  เพื่อให้สามารถมีฟันเสมือนจริงได้ดังเดิม  โดยการฝังรากฟันเทียมไทเทเนียมลงบนกระดูกรองรับฟัน  เพื่อเป็นฐานให้แก่ฟันที่จะสร้างขึ้นมาใหม่  ซึ่งอาจเป็นสะพานฟันหรือฟันปลอมทำให้ฐานของฟันมั่นคงมากยิ่งขึ้น

ผู้ที่ควรเข้ารับการรักษา

  • ผู้ที่มีการสูญเสียฟันซี่ใดซี่หนึ่ง หรือหลายซี่
  • ผู้ที่ไม่ต้องการใส่ฟันปลอมหรือมีความกังวลเกี่ยวกับการสวมใส่ฟันปลอม
  • ผู้ที่มีปัญหาหรือจุดบกพร่องทางสุขภาพปาก  อันเนื่องเกิดจากโรค  การทำศัลยกรรม หรือได้รับบาดเจ็บทางปากและฟัน

ผู้ที่ไม่เหมาะเข้ารับการรักษา

  • ผู้ที่มีความพิการหรือเป็นโรคที่ไม่สามารถควบคุมได้
  • หญิงมีครรภ์
  • ผู้ที่อยู่ระหว่างการรักษาอาการทางจิต
  • ผู้ไม่ให้ความร่วมมือกับการรักษา และ
  • ผู้ที่ขาดกล้ามเนื้อที่ประสานกันเพื่อจัดการขั้นตอนการทำความสะอาดในช่องปาก

ประเภทของการปลูกรากฟันเทียม

1. การปลูกรากฟันเทียมลงในกระดูก (Endosteal)

เป็นวิธีการปลูกรากฟันเทียมแบบทั่วไปและเป็นที่นิยมใช้กัน โดยปลูกลงในกระดูกขากรรไกร    ซึ่งสามารถรักษาร่วมกับการทำสะพานฟันและการทำฟันปลอมได้

2. การปลูกรากฟันเทียมลงบนกระดูก (Subperiousteal)

เป็นการปลูกรากฟันเทียมที่บริเวณด้านบนสุดของกระดูกขากรรไกร  โดยส่วนที่เป็นรากจะยื่นออกมา และมีเหงือกเป็นตัวยึดรากไว้  ซึ่งวิธีนี่เหมาะกับผู้ที่ไม่สามารถใส่ฟันปลอมแบบทั่วไปได้ หรือผู้ที่มีฟันขนาดเล็ก

ข้อดี :

  • ช่วยเพิ่มความมั่นใจและช่วย บุคลิกภาพดูดียิ่งขึ้น  เนื่องจากหากมีฟันที่สูญเสียไป  อาจทำให้คุณสูญเสียความมั่นใจในตัวเองไปด้วย  ซึ่งอาจเกิดจากภาพลักษณ์ของคุณเปลี่ยนไป
  • ทำให้สุขอนามัยในช่องปากดียิ่งขึ้น  เนื่องจากหากมีการทดแทนฟันที่เสียไป  จะช่วยให้โครงสร้างของฟันสมบูรณ์และแข็งแรงได้  และช่วยรักษาเนื้อเยื่อของเหงือกได้
  • ทำให้เพิ่มความสามารถในการ บดเคี้ยวและสามารถรับประทานอาหารได้ดังเดิม  เนื่องจากการปลูกรากฟันเทียมจะทำให้โครงสร้างของฟันที่ทดแทนขึ้นมาใหม่ มีความแข็งแรงและสามารถรองรับความสามารถในการบดเคี้ยวได้ดี
  • ทำให้ความสามารถในการออกเสียงและการพูดดีได้ดังเดิม
  • ลดปัญหาการเคลื่อนตัว การหลุดออก  และความวิตกกังวลเกี่ยวกับปัญหาต่างๆของฟันปลอม

คำถามพบบ่อย :

ทำไมต้องเข้ารับการรักษาด้วรากเทียม

เหตุผลหลักของผู้เข้ารับการรักษารากเทียมคือ เพื่อสุขภาพฟันและช่องปากที่ดี ,เพิ่มความมั่นใจในชีวิตประจำวัน ,ความสุขที่มากขึ้นในการรับประทานอาหาร

ทำไมต้องใช้วัสดุทำจากไทเทเนียม

ปกติร่างกายของคนเราจะไม่ยอมรับและต่อต้านวัสดุที่ เข้าไปในร่างกาย  แต่ไทเทเนียนเป็นวัสดุที่ร่างกายยอมรับ และกระดูกจะทำการจับยึดกับไทเทเทียมเพื่อความมั่นคงของฟันใหม่ที่คนไข้จะได้ รับ

การปลูกรากฟันเทียมมีข้อจำกัดอย่างไร

ข้อจำกัดของผู้ที่ต้องการเข้ารับการทดแทนฟันด้วยราก ฟันเทียมนั้นมีน้อยมาก อย่างไรก็ดี กลุ่มคนที่มีอาการนอนกัดฟันรุนแรงหรือเป็นโรคเบาหวานชนิดควบคุมน้ำตาลไม่ได้ อาจต้องเข้ารับคำปรึกษาจากทันตแพทย์เฉพาะทางก่อน

ต้องใช้เวลารักษานานแค่ไหน

เวลาโดยประมาณสำหรับการปลูกรากเทียมทั่วไป จะอยู่ที่ 7-8 เดือน แต่อย่างไรก็ดี หากฟันและกระดูกอยู่ในสภาพที่ดีมาก ก็จะทำให้การใช้เวลาร่นลงมาได้อีก

หากต้องการปลูกรากฟันเทียมมากกว่าหนึ่งซี่ทำได้หรือไม่

การปลูกรากฟันเทียมสามารถทำพร้อมกันได้มากกว่าหนึ่งซี่ หรืออาจมากถึงการทำรากเทียมเพื่อฟันใหม่ทั้งช่องปาก

เช่น การปลูกรากเทียมรองรับสะพานฟันทั้งขากรรไกร , การปลูกรากเทียมรองรับฟันปลอม

ต้องใช้เวลารักษานานแค่ไหน

การปลูกรากเทียมโดยทั่วไปแล้วจะใช้เวลาประมาณ 3-6 เดือน แต่อย่างไรก็ดีหากฟันและกระดูกอยู่ในสภาพที่ดีมาก เวลาในการรักษาก็อาจลดลงได้อีกเช่นกัน

ปลูกรากเทียมโดยใช้เวลาไม่นานทำได้หรือไม่

ได้ โดยการทำ immediate load ซึ่ง คุณหมอจะทำการรวบขั้นตอนที่ต้องกินเวลานานหลายเดือน เหลือเพียงแค่วันเดียว คือ ทำการปลูกรากเทียม ใส่เดือยรองรับฟัน และใส่ครอบฟันชั่วคราว ทันที แต่อย่างไรก็ดี การรักษาแบบนี้ต้องได้รับคำปรึกษาจากทันตแพทย์เฉพาะทางเพื่อดูสภาพของกระดูก และฟันก่อน ว่าสามารถทำได้หรือไม่

ผลของการปลูกรากฟันเทียมมั่นใจได้แค่ไหน

จากผลการวิจัย และการเก็บสถิติ อัตราการปลูกรากเทียมสำเร็จจะอยู่ที่ประมาณ 90-95%  อย่างไรก็ตาม ขึ้นอยู่กับสภาพของโครงสร้างฟันของแต่ละบุคคลด้วย  ดังนั้นจึงควรปรึกษากับทันตแพทย์ก่อนเข้ารับการรักษา  เพื่อหาวิธีการรักษาที่เหมาะกับแต่ละบุคคลและให้ตรงกับความต้องการของคนไข้

รากฟันเทียมมีอายุการใช้งานกี่ปี

การรักษาด้วยการปลูกรากเทียมนี้หากได้รับการดูแล อย่างถูกต้องและเข้ารับการตรวจสภาพฟัอย่างสม่ำเสมอ ฟันทดแทนนี้ก็สามารถมีอายุการใช้งานเสมือนหนึ่งฟันแท้อื่นๆ รากฟันเทียม คือรากฟันที่ทำจากโลหะที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นเพื่อใช้ทดแทนส่วนที่เป็น รากฟันของฟันธรรมชาติที่สูญเสียไปจากการที่ฟันซี่นั้นถูกถอนออกไป โดยมากรากฟันเทียมจะทำจากโลหะไทเทเนียม (Titanium) โลหะชนิดนี้จะเข้าได้กับเนื้อเยื่อของร่างกายเป็นอย่างดี (Biocompatible Metal) ซึ่งโลหะไทเทเนียมนี้ยังใช้เป็นวัตถุที่ใช้ทำเครื่องช่วยควบคุมการเต้นของ หัวใจ (Heart Pacemakers) และในงานศัลยกรรมกระดูกและข้อบางอย่างก็ใช้โลหะนี้ในการยึดหรีอเปลี่ยนข้อ ต่อ ดังนั้นจึงเป็นการยืนยัน ได้ว่ารากฟันเทียมนี้จะไม่เป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อและกระดูกขากรรไกรเมื่อ ถูกยึดติดกับกระดูกขากรรไกรด้วยการผ่าตัด

เมื่อทันตแพทย์ทำการผ่าตัด เพื่อฝังรากฟันเทียมให้ยึดติดกับกระดูกขากรรไกรแล้ว เมื่อเวลาผ่านไปสักระยะหนึ่ง โดยมากจะเป็นเวลา 3-6 เดือน กระดูกบริเวณรอบๆรากฟันเทียมก็จะยึดติดแน่นกับตัวรากเทียมนี้ ในระยะนี้จะเรียกว่า Osseointregration ซึ่งในระยะนี้จะมีความสำคัญมาก เพราะว่ามันจะเป็นรากฐานที่สำคัญเพื่อใช้เป็นตัว ยึดฟันปลอมที่ใช้ทดแทนฟันที่สูญเสียไป เปรียบเสมือนกับรากฟันของฟันธรรมชาติที่ยึดติดแน่นกับกระดูกขากรรไกรของเรา ก่อนทำการผ่าตัดฝังรากเทียมนี้ ทันตแพทย์จะทำการวิเคราะห์และตรวจขนาดของกระดูกขากรรไกรว่าม ความหนาและลึกพอที่จะรองรับรากเทียมได้หรือไม่ นอกจากนี้ยังจะวางแผนหาตำแหน่งและทิศทางของ รากเทียมเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดในด้านการใช้งานบดเคี้ยว และต้องสวยงามที่สุดด้วย