รักษารากฟัน

Posted on: พฤษภาคม 20, 2013, by :

รักษารากฟัน (Root canal treatment)

Root canal treatment / Endodontic therapy

What is “having a root canal”?

Root canal treatment, despite all of the misleading myths and misconceptions spread about it, does, in fact, provide an invaluable service. It allows a means by which severely damaged teeth can be saved.

So to help you understand how this is possible, our pages outline the individual steps of having root canal (endodontic therapy) and explain its treatment goals.

Our pages also discuss issues such as why a dental post and crown may be needed after treatment, why therapy sometimes fails, treatment costs and whether this or a dental implant makes the better choice.


What is root canal treatment?

Root canal therapy refers to the process where a dentist treats the interior aspects of a tooth, specifically, that space occupied by its “pulp tissue.”

Most people would probably refer to a tooth”s pulp tissue as its “nerve,” however, doing so is only partially accurate. While pulp tissue does contain nerve fibers, it is also composed of arteries, veins, lymph vessels, and connective tissue.

On our pages, so to use terminology that people seem to be most familiar with, we have chosen to use the terms nerve, nerve tissue, and pulp tissue as if they all refer to the same thing.

At this point:

  • Learn more about having root canal. >>
  • Learn about why root canal treatment is performed. >>
  • Or keep on reading this page for more information about teeth and the nerve tissue they contain.

Where precisely in a tooth is its nerve?

Teeth are not solid objects. Inside every tooth there lies a hollow space that contains its nerve tissue. Dentists use the following terms to refer to various portions of this nerve space:

A) The pulp chamber.

This is the hollow area that lies, more or less, in the center of the tooth”s crown (that part of the tooth positioned above its gum line).

B) The root canals.

A tooth”s root canals run from the apex (tip) of its root up to its pulp chamber.

The layout of the nerve space inside different types of teeth is quite different.

Teeth always have just one pulp chamber but the number of individual root canals that they have can vary widely.

As a norm, teeth usually have either 1, 2, or 3 roots (but they can have more). And any one root is usually expected to have just one canal. Specific roots of some teeth, however, are well known for frequently having 2 or more canals. And, pretty much, any other tooth”s root (as a variant) has this potential too.

Examples.

As examples of how varied the nerve space inside different teeth can be, upper front incisors (center front teeth), typically have just one root and one root canal. In comparison, most upper molars have 3 roots and at least 3 (and frequently 4) canals.

FYI: What does the number of root canals mean to you?

The number of canals that a tooth has will affect you, the patient, in the following ways:

  • The cost of root canal treatment is typically based on the number of individual canals that are treated. The greater the number, the higher the cost.
  • Treatment time is affected by the number of canals being treated. It is more time consuming for a dentist to treat a tooth with 4 canals as opposed to one just having a single canal.

What is the purpose / function of a tooth”s nerve?

You don”t really get as much “feeling” from the nerve as you might expect.

A tooth”s nerve tissue does have a sensory function. But this role is probably different from what you expect. Under normal circumstances the nerve tissue inside our teeth provides us with very little information.

Yes, when subjected to pressure or temperature extremes, or exposed to severe insult (like advancing tooth decay or the formation of a crack), teeth do respond with a painful sensation. But under normal circumstances, the nerves inside our teeth remain relatively “quiet.”

You might think that if you push on your teeth with your finger, or else close them together, you feel a pressure sensation because of their nerve. Actually, this sensation comes from the nerve fibers found in the ligament that surrounds the root, not from inside the tooth itself.

That”s why after root canal treatment has been completed, you”ll never miss your tooth”s nerve.

This implies then, from a standpoint of the normal functions we perform with our teeth, that the presence of live nerve tissue inside them is pretty much optional. If its present and healthy, then wonderful. But if a tooth has had its nerve removed as a part of root canal treatment, then that”s fine too. You will never miss it.

There are some other functions that the nerve performs, not that you would ever know it.

Early on, a tooth”s nerve tissue plays an important role in the formation and development of the tooth. Then, once it has formed, the function of this tissue becomes one of helping to preserve the tooth”s health and vitality.

The nerve tissue helps to keep the organic components of the tooth”s mineralized tissues (dentin and enamel) supplied with nutrients and moisture. It also produces new tooth structure (reparative dentin) as is needed to help to wall off and protect the nerve from insult or injury (such as advancing tooth decay).

 

การรักษารากฟัน

ฟันที่มีอาการปวด บวมควรจะเก็บไว้หรือถอนออก

ในอดีตเมื่อฟันมีอา การปวดบวม ทันตแพทย์มักจะถอนฟันทิ้ง  แต่ปัจจุบันนี้ วิทยาการก้าวหน้าขึ้น  ทำให้ทันตแพทย์สามารถเก็บฟันให้ใช้เคี้ยวต่อไปได้อีกหลายปี        สาเหตุส่วนใหญ่มักมาจากโรคฟันผุ หรือ โรคเหงือกซึ่งเป็นโรคในช่องปากที่พบได้บ่อยสุด ถ้าอาการนั้นมาจากโรคฟันผุก็จะทำการรักษาคลองรากฟันเพื่อเก็บฟันไว้

ถ้าอาการนั้นมาจากโรคเหงือก ฟันมักจะโยก ต้องดูสภาพของกระดูกที่เหลืออยู  ถ้ายังมีกระดูกเหลือเพียงพอ ทันตแพทย์จะทำหารขูดหินปูน กำจัดคราบจุลินทรีย์ใต้เหงือกออก  อาการจะดีขึ้นแต่คุณต้องหมั่นดูแลทำความสะอาดฟันให้ดี  ดูรายละเอียดที่หมวดการแปรงฟัน และใช้ไหมขัดฟัน

การรักษารากฟันคืออะไร

ก่อนที่จะเข้าใจความหมายของการรักษารากฟัน  เรามาดูโครงสร้างของฟันก่อนนะคะ        โครงสร้างและส่วนประกอบฟันมี 3 ส่วน

1.   ผิวเคลือบฟัน (Enamel) ซึ่งอยู่ชั้นนอกสุด

2.   ชั้นเนื้อฟัน (Dentin) ซึ่งเป็นเนื้อที่ฟันส่วนใหญ่

3.   ชั้นในสุด คือ โพรงประสาทฟัน (Dental pulp) ซึ่งมีเนื้อเยื่อประสาทฟันบรรจุอยู่เต็ม เนื้อเยื่อประสาทฟันประกอบด้วย เส้นประสาทหลอดเลือด หลอดน้ำเหลือง เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

ส่วนของฟันที่อยู่ภายในช่องปาก เรียกว่าตัวฟันและส่วนที่อยู่ในกระดูกเบ้าฟันของขากรรไกร เรียกว่ารากฟัน โพรงประสาทที่อยู่ภายในรากฟัน เรียกว่าคลองรากฟัน ซึ่งปลายสุดจะมีรูเปิดเล็กๆ เพื่อให้มีการหมุนเวียนของโลหิตและเส้นประสาทกับวงจรของร่างกาย

ลักษณะของฟันที่ต้องรักษารากฟัน

เมื่อเกิดฟันผุที่ผิวเคลือบฟันจนถึงเนื้อฟันส่วนบนๆ แล้วไม่ได้รักษา โดยการอุด การผุจะลุกลามเข้าสู่โพรงประสาทฟันได้ จะมีอาการปวดตั้งแต่ปวดเล็กน้อยในเวลาสั้นๆ ปวดเฉพาะเวลาดื่มน้ำเย็น อาหารหวานจนปวดมาก ปวดตลอดเวลา ปวดขึ้นมาได้เอง อาการเช่นนี้ แสดงว่า เนื้อเยื่อประสาทฟันมีการอักเสบเกิดขึ้น ถ้าเป็นมากก็จะลุกลามผ่านรูเปิดที่ปลายรากฟันสู่เนื้อเยื่อบริเวณรอบปลายรากฟัน เกิดการอักเสบจนเป็นฝี หนอง อาจมีอาการเจ็บหรือปวดฟันเวลาเคี้ยว หรือเมื่อฟันกระทบกัน อาจมีอาการบวมหรือตุ่มหนองบริเวณเหงือกหรือเพดาน บ่อยครั้งพบว่าบวมถึงบริเวณหน้า บางครั้งอาจพบฝีหรือหนองไหลออกสู่ผิวหนังบริเวณใบหน้าหรือใต้คาง ฟันที่มีโรคของเนื้อเยื่อประสาทฟันและโรคของเนื้อเยื่อรอบปลายรากฟัน ถ้าไม่กำจัดออกไปอาจทำให้เกิดโรคของอวัยวะและระบบอื่นของร่างกายได้ เช่น ตาอักเสบ จมูกอักเสบ

การรักษารากฟันคือ  การรักษาภายในตัวฟัน โดยการทำให้ภายในโพรงประสาทฟันสะอาด ปราศจากเชื้อโรค  แล้วอุดให้แน่น  ทำให้เก็บฟันที่เคยเป็นโรคเอาไว้ได้โดยไม่ต้องถอนทิ้ง และสามารถทำหน้าที่ได้ตามปกติ   อย่างไรก็ตามฟันที่เคยรับการรักษารากฟันแล้วจะมีข้อเสียคือ ค่อนข้างเปราะ   ดังนั้น หลังจากรักษารากฟันแล้วควรพิจารณาทำ    เดือย และครอบฟัน เพื่อคงความแข็งแรงให้กับฟันที่รักษารากแล้ว  (ดูรายละเอียดการบูรณะฟันหลังการรักษาราก)

ขั้นตอนในรักษา

1.   การเปิดทางเข้าสู่คลองรากฟัน การดึงเนื้อเยื่อประสาทฟันออก แล้วทำความสะอาดภายในคลองรากฟันโดยการใช้เครื่องมือเหมือนเข็มซึ่งส่วนปลายมีลักษณะคล้ายตะไบ หรือสว่าน มีขนาดต่างๆ โดยดูจากสีด้ามที่จับ

2.    การวัดความยาวของฟัน     โดยการใช้เครื่องมือขยายคลองรากฟันซึ่งทึบแสงใส่ในคลองรากฟัน แล้วถ่ายภาพรังสีก็จะทราบความยาวของฟัน ปัจจุบันมีเครื่องที่ช่วยวัดความยาวรากโดยไม่ต้องใช้ X-Ray

3.  ในการขยายคลองรากฟัน จะมีการล้างคลองรากฟันด้วยน้ำยาที่บรรจุในกระบอกเข็มฉีดยา เพราะภายในคลองรากฟันค่อนข้างเรียวเล็ก ต้องใช้เครื่องมือชนิดที่สามารถนำใส่ลงในคลองรากฟันได้ 4.การอุดคลองรากฟัน    เมื่อขยายคลองรากฟันเสร็จ               ทันตแพทย์จะพิจารณาดูความสะอาดของ คลองรากฟัน    ถ้ายังไม่สะอาดพอ ก็จะใส่ยาในคลองรากฟันแล้วอุดชั่วคราวไปก่อน แล้วนัดมาใหม่ ในนัดครั้งต่อไป หากทันตแพทย์พบว่าคลองรากฟันยังมีการติดเชื้อ ก็จะล้างคลองรากฟันแล้วใส่ยา นัดกลับมาอีก จนฟันอยู่ในสภาพที่พร้อมอุดภายในคลองรากฟันแบบถาวร

การบูรณะฟันหลังการรักษาคลองรากฟัน        ฟันบางซี่มีการสูญเสียเนื้อฟันไม่มากอาจปรับปรุงด้วย การอุดฟัน ซึ่งปัจจุบันนิยมใช้ วัสดุอุดฟันแบบฉายแสง เพราะมีแรงยึดกับเนื้อฟันได้ดี และมีความแข็งแรงพอๆ กับอมัลกัม แต่ฟันที่รักษาคลองรากฟันมักจะเปราะ เนื่องจากเนื้อฟันจะแห้งกว่าปกติ ยังมีการผุของฟันและการกรอแต่งเพื่อเปิดทางเข้าสู่คลองรากฟัน วิธีการที่ดีที่สุด คือ การทำเดือย และ ทำครอบฟัน จะทำให้ฟันที่รักษาคลองรากฟันนี้แข็งแรง        บางครั้งฟันที่รักษาคลองรากฟันอาจเปลี่ยนสี ถ้าเป็นฟันหน้าอาจเป็นปัญหาเรื่องความสวยงาม แก้ไขโดยการฟอกสีฟัน หรือ ทำเคลือบสีฟันก็ได้  ทันตแพทย์จะนัดกลับมาตรวจรักษาทุกๆ 6 เดือน

การรักษาคลองรากฟันนอกจากทำในฟันที่ผุจนทะลุโพรงประสาทฟันแล้วอาจทำในฟันที่ได้รับอุบัติเหตุ เช่น ฟันหัก ฟันหลุดออกจากเบ้าฟัน และทำให้ฟันปกติเพื่อช่วยในการใส่ฟัน กรณีฟันที่เป็นหลักยึดไม่ได้ระดับ เช่น เอียง ยื่นยาว ทำให้ใส่ฟันลำบาก ในกรณีใส่ฟันปลอมทั้งปาก อาจรักษาคลองรากฟันที่เหลือ 2-3 ซี่ ทำฟันปลอมใส่ทับรากฟันที่รักษา เรียบร้อย จะทำให้ฟันปลอมแน่นขึ้น เพราะกระดูกขากรรไกรยังไม่ยุบตัว เพราะยังมีรากฟันเหลืออยู่ ฟันที่รักษาคลองรากฟันแล้วแม้ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทฟัน แต่ฟันยังยึดติดกับกระดูกขากรรไกรโดยเอ็นยึดติดฟัน สามารถใช้งานได้ตามปกติ

ในบางครั้งถ้าไม่ต้องการรักษาคลองรากฟัน อาจเพราะไม่มีเวลามาตามนัด หรือสาเหตุอื่น อาจต้องพิจารณาการถอนฟัน    บางครั้งถ้าถอนฟันไปแล้วปล่อยทิ้งไว้ โดยไม่ได้ใส่ฟันปลอม จะทำให้ฟันข้างเคียงล้มเข้าหาช่องว่าง หรืออาจมีผลกับฟันทั้งปาก และยังทำให้กระดูกขากรรไกรยุบตัวเร็ว  อย่างไรก็ตามการรักษาคลองรากฟันไม่สามารถทำได้ในฟันทุกซี่   เช่นในกรณีฟันที่เสียเนื้อฟันไปมากจนไม่สามารถแก้ไขได้

ครอบฟันแบบเซรามิกล้วน (All-ceramic หรือ all-porcelain crowns) ถือเป็นทางเลือกที่ได้รับความนิยมในหมู่คนไข้มากขึ้นทุกขณะ ว่าเป็นวิธีที่ได้มาตรฐานในการบูรณะและปกป้องฟัน ด้วยเหตุผลพื้นฐานสำคัญข้อหนึ่งที่เรารอคอยกันมานาน มันเหมือนฟันปลอมที่มีคุณภาพและแทบจะดูไม่ออกเลย

เริ่มสนใจแล้วล่ะสิ?

ก่อนที่เราจะเจาะลึกลงไปในรายละเอียดของครอบฟันแบบเซรามิกล้วน เรามาทำความรู้จักกับครอบฟันโดยทั่วๆ ไปกันก่อน

ครอบฟันคืออะไร? มีไว้ทำไม?

การทำครอบฟัน (crowns หรือ caps) เป็นการการบูรณะซ่อมแซมฟันที่ได้รับความเสียหาย และนอกจากนี้ยังช่วยในการปกป้องและเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับฟันธรรมชาติ ให้สามารถทำหน้าที่และมีประสิทธิภาพการใช้งานที่ดีดังเดิม ครอบฟันอาจมีความจำเป็นในกรณีดังต่อไปนี้

  • เพื่อปกป้องฟันที่ผุจากการแตกหักเสียหายที่มากกว่าเดิม หรือครอบเพื่อยึดชิ้นส่วนของฟันที่ร้าวเข้าไว้ด้วยกัน
  • เพื่อบูรณะฟันที่เสียหายจากการแตกหักหรือฟันผุที่สึกกร่อนอย่างมาก
  • เพื่อครอบ ปกป้องและช่วยเสริมการบูรณะฟันที่มีวัสดุอุดใหญ่ เมื่อเนื้อฟันที่เหลืออยู่มีปริมาณน้อย
  • เป็นองค์ประกอบในการทำสะพานฟัน เป็นตัวเชื่อมเพื่อยึดสะพานฟัน
  • เพื่อปกปิดฟันเดิมที่ผิดรูปร่างและมีการเปลี่ยนสีอย่างรุนแรง
  • เพื่อครอบรากฟันเทียม

วัสดุที่นำมาใช้ในการทำครอบฟัน?

เป็นระยะเวลาหลายปีที่ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทันตกรรม ค่อยๆ พัฒนาขึ้นมา จนสามารถสร้างความมั่นใจให้กับคนไข้ ในวีธีการที่ใช้อยู่ในปัจจุบันได้ วัสดุและเทคนิคที่เคยใช้กันก็ค่อยๆ เสื่อมความนิยมลงไป ในขณะที่เทคโนโลยีที่คิดค้นได้ใหม่ ก้าวเข้ามาแทนที่ ยกตัวอย่างเช่น ครอบฟันในปัจจุบันที่ทำมาจากวัสดุหลากชนิด อาจเป็นโลหะ เซรามิก หรือ พอร์ซเลนเสริมโลหะ

ครอบฟันที่ทำจากโลหะล้วนไม่ใช่ทางเลือกที่ดีนักสำหรับฟันที่สามารถเห็นได้ ชัดเจนอย่างฟันหน้า เพราะสีแบบโลหะนั่นเอง อย่างไรก็ดี สำหรับฟันกรามหรือฟันซี่ใน ครอบฟันแบบโลหะล้วนก็ถือเป็นทางเลือกที่เหมาะสม เพราะมีความแข็งแรงทนทานสูง ส่วนครอบฟันแบบพอร์ซเลนเสริมโลหะ จะมีความสวยงามกว่าแบบโลหะล้วน แต่มีความทนทานน้อยกว่า และอาจทำให้ขอบเหงือกคล้ำเนื่องจากการตกของสีโลหะได้เมื่อเวลาผ่านไป

เปรียบเทียบกันกับครอบฟันสองประเภทที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนั้น ครอบฟันแบบเซรามิกล้วนถือเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด ในแง่ของความสวยงาม แลดูเป็นธรรมชาติ ซึ่งเหมาะสมกับการทำฟันหน้าที่สุด เหตุผลหลักๆ ก็เพราะครอบฟันแบบนี้ ไม่มีส่วนผสมของโลหะ เมื่อเวลาผ่านไป จึงไม่มีปัญหาเรื่องเหงือกคล้ำให้ต้องกังวล อย่างไรก็ตาม ครอบฟันแบบเซรามิกล้วน ก็ไม่เป็นที่นิยมและไม่แนะนำให้ใช้กับฟันกราม เนื่องจากวัสดุเซรามิกนั้นไม่ได้สามารถรองรับแรงกดกระแทกจากการบดเคี้ยวได้ มากนัก

ทำไมคนถึงถามหาครอบฟันจากวัสดุที่ไม่ใช่โลหะมากขึ้น เมื่อเวลาผ่านไป?

ในอดีต ครอบฟันจะทำจากทองคำหรือสเตนเลส แต่เมื่อเทคโนโลยีและวัสดุศาสตร์ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น ประกอบกับที่คนเราเริ่มหันมาให้ความสำคัญกับบุคลิกภาพและรูปลักษณ์ภายนอกมาก ขึ้น ในกรณีนี้ คือ รอยยิ้ม ที่เป็นสาเหตุให้ครอบฟันแบบโลหะล้วนเริ่มเสื่อมความนิยมลงไป

ต่อมาภายหลัง พอร์ซเลนเสริมโลหะก็กลายมาเป็นทางเลือกหนึ่งที่ใช้กันแพร่หลายกว่าสองทศวรรษ ก่อนที่เราจะคิดค้น ครอบฟันแบบเซรามิกล้วนขึ้นมาเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้ที่แพ้โลหะ และต้องการความสวยงาม